งานวิจัยเกี่ยวกับปลากัด

ตารางสรุปจำนวนเอกสารวิชาการ วิทยานิพนธ์  ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ

หัวข้อ

จำนวน (เรื่อง)

เอกสารวิชาการ

วิทยานิพนธ์

วารสารวิชาการต่างประเทศ

ชีววิทยาของปลากัด

4

2

133

พฤติกรรมของปลากัด

-

-

146

พันธุกรรมของปลากัด

-

3

8

เทคนิคการเพาะพันธุ์ปลากัด

8

1

-

อาหารปลากัด

1

1

1

โรคปลากัด

2

1

14

ธุรกิจและการตลาด

6

1

-

 
   
 

สรุปเนื้อหา และขอบเขตการวิจัยปลากัด

หัวข้อ ชีววิทยาของปลากัด
เนื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • การพัฒนารูปร่างและอวัยวะต่างๆและการจำแนกสกุลลูกปลาวัยอ่อน
  • การค้นพบและจัดจำแนกปลากัดชนิดใหม่
  • ลักษณะทางกายวิภาคและจุลกายวิภาคของปลากัดไทย
  • เซลล์ และเซลล์เม็ดสี (chromatophores) กับการเกิดสีของปลากัด
  • การรับรู้และการรับรส
  • ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนเพศของปลากัด
  • ผลของฮอร์โมนต่อการเปลี่ยนแปลงเพศและโครโมโซม การเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์
  • ผลของเอสโตรเจน(estrogen) และเมทิลเทสโทสเตอโรน (methyltestosterone) ต่อการเจริญของต่อมเพศและการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางเพศ
  • ความสมบูรณ์เพศและความดกไข่ของปลากัด
  • ขั้นตอนและพัฒนาการของสเปิร์มและไข่ของปลากัด
  • ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม (agonistic) และระบบสืบพันธุ์
  • ผลของคุณภาพน้ำต่อการเจริญเติบโต
  • Electrophoretic ของไอโซไซม์ในกล้ามเนื้อและตับของปลา
  • Motor innervation ของกล้ามเนื้อยึดแผ่นปิดเหงือกและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
  • กรดนิวคลีอิก และ substrate contents ของกล้ามเนื้อหลังระหว่างเกิดภาวะเครียด (biological stress)
  • การเปลี่ยนแปลงสารชีวเคมี (biochemical cost) ในการต่อสู้ของปลาที่อยู่ในภาวะอดอาหารและภาวะปกติ
  • การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการเมตาบอลิซึมของกล้ามเนื้อของปลาเพศผู้ในช่วง 6 ชั่วโมงแรกของ
    การจับคู่ผสมพันธุ์
  • การใช้เซลล์เม็ดสี หรือ โครแมทโทฟอร์(chromatophore)ของปลากัดตรวจสอบสารพิษและแบคทีเรีย
    ปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม
  • การศึกษาเชิงพลังงานที่ใช้เกี่ยวกับชีวโมเลกุลในการดำรงลำดับชั้นทางสังคม (biochemical energetics of hierarchy formation)
         
 
     
     
 

หัวข้อ    พฤติกรรมของปลากัด
เนื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • พฤติกรรมต่างๆ ของปลากัด อาทิเช่น การก่อหวอด การเกี้ยวพาราสี พฤติกรรมก้าวร้าว พฤติกรร
    มการครอบครองถิ่นที่อยู่อาศัย
  • การตอบสนองของปลากัดต่อสิ่งเร้าต่างๆ ได้แก่ วัตถุ คอมพิวเตอร์อะนิเมชั่น กระจก ปลาเพศเดียวกันหรือต่างเพศ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
  • การแสดงพฤติกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท การมองเห็น พลังงาน กระบวนการเมตาบอลิซึม
  • การอยู่ร่วมกันของปลากัดเพศผู้ และพฤติกรรมก้าวร้าว
  • ปัจจัยที่มีผลต่อการกัดกันของปลากัดเพศผู้
  • การศึกษาเกี่ยวกับสารที่มีผลต่อการทำงานของระบบประสาท/เฟอโรโมน (pheromone) / คุณภาพน้ำ / HgCl2 / methyl parathion ที่มีผลต่อการแสดงพฤติกรรม
  • การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและการผสมพันธุ์
  • การเลือกคู่ของปลากัดเพศเมีย
     
 
 

หัวข้อ    พันธุกรรมของปลากัด
นื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • แครีโอไทป์ของปลากัด
  • ลักษณะทางพันธุกรรมกับการเกิดสี และการศึกษาทางด้านเนื้อเยื่อวิทยาของปลากัด
  • การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมด้วยการเพิ่มปริมาณ mitochondrial DNA (mtDNA) และ โปรตีนของกล้ามเนื้อ (sarcoplasmic proteins)
  • การศึกษาและเปรียบเทียบ DNA บางท่อนของ genome ที่ควบคุมการเกิดสีของปลากัด
  • การพัฒนาไมโครแซทเทลไลท์ไพรเมอร์ (micro sattlelite primer)
  • ความแตกต่างทางพันธุกรรมของปลากัด (Betta spp.) ในประเทศไทยโดยอาศัย
    Random Amplified Polymorphic DNAs (RAPD)

หัวข้อ    โรคปลากัด
นื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • โรคและปรสิตที่พบในปลากัด และปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค
  • อาการของโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย และปรสิต
  • พยาธิสภาพของปลาที่เกิดโรคจากเชื้อแบคทีเรีย โปรโตซัว และไวรัสชนิดต่างๆ
  • การพัฒนาแอนตี้บอดีซึ่งมีความจำเพาะสูง (monoclonal antibodies) จากเชื้อแบคทีเรียก่อโรค
  • การศึกษาระบบภูมิคุ้มกันโรคในปลากัดด้วยวิธีต่างๆ อาทิเช่น immunocytochemical,   immunoblotting และ enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA)

หัวข้อ    เทคนิคการเพาะพันธุ์ปลากัด
นื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • การศึกษากระบวนการผสมพันธุ์และการเพาะเลี้ยงปลากัดไทย
  • การปรับปรุงพันธุ์ปลากัดไทยโดยวิธีการผสมข้ามสายพันธุ์
  • วิธีการทำหางสองแฉกและการทำสีปลากัด
  • การใช้ฮอร์โมนชนิดต่างๆ ในการเปลี่ยนเพศปลากัด อาทิเช่น ฟลูอ๊อกซีเมสโทสเทอโรน (fluoxymestosterone) และ เมธิลเทสโทสเทอโรน (methyltestosterone)
  • ผลของสารสกัดจากใบมังคุดต่อการเปลี่ยนลักษณะเพศในปลากัด
     
 
 
     

หัวข้อ    อาหารปลากัด
นื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • อาหารมีชีวิตที่นิยมใช้เลี้ยงปลากัด
  • ผลของโปรตีนจากพืชในอาหารต่อการเจริญและความดกไข่ของปลากัด

หัวข้อ    ธุรกิจและการตลาด
นื้อหา และขอบเขตการวิจัย

  • การทำธุรกิจปลาสวยงาม
  • การพัฒนาปลากัดไทยและศักยภาพการผลิตปลากัดเพื่อการส่งออก
     
ปลากัดส่งขายต่างประเทศ
การเลี้ยงปลากัดพ่อแม่พันธุ์
                 
 
 
 
หน้าแรก