เนื่องจากกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระแสสลับมีค่าเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ทิศของกระแสไฟฟ้ากลับไปกลับมา จึงไม่อาจใช้เครื่องวัดไฟฟ้า
สำหรับไฟฟ้ากระแสตรงมาวัดได้ มิเตอร์ที่ใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าหรือความต่างศักย์
ในวงจรกระแสสลับ มีการออกแบบสำหรับใช้วัดค่ากระแสหรือความต่างศักย์
ในวงจรโดยเปลี่ยนกระแสสลับเป็นกระแสตรงเสียก่อน โดยค่าที่วัดได้ เรียกว่า
ค่ายังผล (effective value) ซึ่งค่านี้วัดได้จากมิเตอร์ จึงเรียกว่า ค่ามิเตอร์(meter value)

ความสัมพันธ์ระหว่างค่าสูงสุดกับค่ามิเตอร์ หรือ rms


 
ดังนั้น จะได้ว่า
 
เนื่องจากเทอมจะมีค่าเป็นบวกตลอดเวลาและจะมค่าไม่คงที่
ถ้าเราหาค่าเฉลี่ยในหนึ่งคาบจะพบว่าค่าเฉลี่ย ของเท่ากับ
ถ้าเราป้อนกระแสคงที่ผ่านตัวต้านทาน R ให้ได้กำลังเท่ากับกำลังเฉลี่ยจะได้ว่า
                               
โดยทางไฟฟ้ากระแสสลับ เราจะเรียกค่า I ดังกล่าวว่าค่า rms (Root Means Square )
หรือค่ายังผล (Effective )   กรณีของค่าของความต่างศักย์ไฟฟ้าและ EMF เรา
จะพิสูจน์ได้ว่า
                    
โดยทั่วไปเครื่องวัดปริมาณต่างๆของไฟฟ้ากระแสสลับ เช่น ความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า จะออกแบบให้วัดค่า rms เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้ตามบ้านเรือน
ที่เขียนว่า 220 V ค่านี้หมายถึงค่ายังผล หรือ rms ซึ่งถ้าจะหาค่าสูงสุดก็จะได้เท่ากับ