ลวดตัวนำ 2 เส้นที่ขนานกัน

ลวดยาวที่มีกระแสไหล 2 เส้น วางขนานกันจะกระทำแรงซึ่งกันและกัน ลวด 1 และ 2 วางขนานกันห่าง
กันเป็นระยะ a มีกระแส I 1 และ I 2ในทิศเดียวกัน ลวด 2 ทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก B1 ที่ทุกจุดบนลวด 1
ด้วยขนาด B2
และมีลวด 1 อยู่ในสนามภายนอก   B2 ลวด 1 นี้จะได้รับแรงแม่เหล็กด้วยขนาด
F1 อยู่ในระนาบของลวดสองเส้นและมีทิศเข้าหาลวด 2 เราสามารถหาแรง บนลวด 2 ได้โดย
หาสนามแม่เหล็กเนื่องจากลวด 1 พบว่าแรงมีทิศเข้าหาลวด 1 ซึ่งหมายถึงลวดสองเส้นดูดกัน
ถ้ากระแสมีทิศเดียวกัน แต่ถ้ากระแสไหลสวนทางกัน ลวดทั้งสองจะผลักกัน

กฎของแอมแปร์
ถ้าการกระจายข
องกระแสมีสมมาตรสูง เราสามารถใช้ กฎของแอมแปร ์หาสนามแม่เหล็กได้ง่ายกว่า
ใช้กฎของ Biot และ Savart มาก โดยในการ ใช้ จะมีการสร้าง Amperian loop คือ closed loop ใด ๆ
ที่ลากให้ล้อมรอบ กระแสและผ่านจุดที่จะหาสนามแม่เหล็ก กฎของแอมแปร์กล่าวว่า line integral ของ

รอบ Amperian loop จะเท่ากับผลคูณของ กับกระแสสุทธิภายใน ที่ผ่าน loop เขียนเป็นสมการได้ว่า

ถึงแม้กฎของแอมแปร์จะเป็นจริงสำหรับ Amperian loop รูปร่างใด ๆ แต่เราควรสร้างให้มีสมมาตร
เหมือนการกระจายของกระแส จึงจะมีประโยชน์ ตัวอย่างเช่น ลวดตรงและยาว มีกระแสไหล I เนื่อง
จากสนามแม่เหล็ก เนื่องจากลวดที่มีสัมผัสวงกลมรอบลวด เราจึงสร้าง Amperian loop เป็นวงกลม
รอบลวดรัศมี r  จุดศูนย์กลางอยู่ที่ลวด ดังนั้น สนามแม่เหล็กมีทิศเดียวกับ (กฎมือขวา)
และมีขนาดคงตัวจากกฎของแอมแปร์